Thailand Taxonomy คืออะไร?
               • เป็นมาตรฐานกลางของประเทศไทยที่ใช้เป็นแนวทางในการจำแนกและจัดกลุ่มกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยอ้างอิงหลักวิทยาศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม และยึดมั่นในเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิให้เป็นศูนย์ภายในปี พ.ศ. 2593 (ค.ศ. 2050) เพื่อควบคุมไม่ให้อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มสูงเกิน 1.5 องศาเซลเซียส ตามพันธกรณีในความตกลงปารีส (Paris Agreement)
               • ระบบการจำแนกกิจกรรมจะใช้แนวทาง “สัญญาณไฟจราจร” (Traffic-Light System) แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ สีเขียว สีเหลือง และสีแดง โดยกิจกรรมจะต้องไม่ก่อให้เกิดผลกระทบเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญต่อเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อมอื่น (Do No Significant Harm) และต้องคำนึงถึงผลกระทบทางสังคมตามหลักการคุ้มครองขั้นต่ำ (Minimum Social Safeguards) ควบคู่กันไปด้วย
               • Thailand Taxonomy เป็นเครื่องมืออ้างอิงสำหรับทุกภาคส่วน โดยการนำไปใช้นั้นเป็นไปตามความสมัครใจ
               • การจัดทำ Thailand Taxonomy ดำเนินการโดยคณะทำงานขับเคลื่อนการกำหนดนิยามและจัดหมวดหมู่โครงการหรือกิจกรรมในภาคเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ซึ่งเป็นความร่วมมือของกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (สส.) ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลาดหลักทรัพย์ฯ) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยได้รับการสนับสนุนจาก International Finance Corporation (IFC) และมี Climate Bonds Initiative (CBI) ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาโครงการ

คำศัพท์ Taxonomy รู้ไว้ไม่ตกเทรนด์

 

E-Learning

Introduction to Thailand Taxonomy

YouTube : Thailand Taxonomy 101

 

Introduction to Thailand Taxonomy

PDF File : Thailand Taxonomy 101

 

เอกสาร Thailand Taxonomy ระยะที่ 2

  บทนำ (Introduction)
กรอบแนวคิดและแนวทางเชิงระเบียบวิธี (Conceptual Framework and Methodological Approach)
Download : ฉบับภาษาไทย
Download : English Edition
  หลักเกณฑ์สำคัญ (Essential Criteria)
การไม่สร้างผลกระทบเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญและการคำนึงถึงผลกระทบทางสังคม (Do No Significant Harm [DNSH] & Minimum Social Safeguards [MSS])
Download : ฉบับภาษาไทย
Download : English Edition

  ภาคเกษตร (Agriculture Sector)
Download : ฉบับภาษาไทย
Download : English Edition
  ภาคก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ (Construction & Real Estate Sector)
Download : ฉบับภาษาไทย
Download : English Edition

  ภาคอุตสาหกรรมการผลิต (Manufacturing Sector)
Download : ฉบับภาษาไทย
Download : English Edition
  ภาคการจัดการของเสีย (Waste Management Sector)
Download : ฉบับภาษาไทย
Download : English Edition

  ภาคผนวก (Annex)
Download : ฉบับภาษาไทย
Download : English Edition
 

 

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

คู่มือการใช้งาน Thailand Taxonomy
แนวทางการนำไปใช้กับธุรกิจ กรณีศึกษา และคำถามที่พบบ่อย
ภาพรวมนโยบายด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย
Thailand Background
คำถามที่พบบ่อย
Frequently Ask Questions [FAQs]

 

เอกสารวิทยากรวันที่ 27 พ.ค. 68

key note รู้จัก Thailand Taxonomy
  รู้จัก Thailand Taxonomy 2.0 ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่ความยั่งยืน  

Panel 1 : เดินหน้าตามมาตรฐานสากลปรับใช้ในบริบทไทย
  เดินหน้าตามมาตรฐานสากลปรับใช้กับบริบทไทย   New Energy Efficiency Plan (Work In-Progress)
  Thailand 2050 : Net Zero Cement & Concrete Roadmap  

Panel 2 : Thailand Taxonomy ในการปฏิบัติจริง จากกรอบนโยบายสู่การลงมือทำ
  B.Grimm Power : 2024 Taxonomy Disclosure   Thai Union receives landmark USD 150mn Blue Loan from Asian Development Bank (ADB)
  BEM’s Sustainable Finance Journey